Current Projects

Forest Care การอนุรักษ์ป่า

Rapid Streamside Revegetation

Rapid Streamside Revegetation:

Development of collection, propagation and planting techniques for trees of the lowland rivers and streams in northern Thailand.

Ricky Ward. affiliate, CMU Herbarium, Biology Department, Chiang Mai University, Chiang Mai 50200

Between May 2000 and August 2003 small scale trials of planting trees on abandoned, low elevation land has produced information for developing revegetation techniques applicable in most northern Thai villages.

Agricultural and urban development has caused the near total disappearance of the original riparian trees in the plains and lower valleys of northern Thailand. In many places the exotic Samanea saman now dominates. These changes, selective logging and the transformation of forests by fire have resulted in a tragic loss of biodiversity and of a local appreciation of what once grew by the streams.

To remedy this loss of knowledge, a study of CMU Herbarium floristic specimen reports from two national parks in Chiang Mai and Chiang Rai together with visits to extremely rare streamside remnant vegetation communities from Nan to Mae Hong Sawn has resulted in a list of 80 indigenous tree species from 37 families as suitable for planting.

Observations and experimental results relating to 21 of these species are presented.

In January 2004, following extensive destruction by the government of vegetation along the Ping River in urban Chiang Mai, a trial began to produce a diversity of trees and plant them in numbers sufficient to demonstrate effective rapid revegetation of streamside land.

This project has been done by a small group of retirees using a makeshift stick and shade cloth nursery on wasteland in urban Chiang Mai with plantings on 5 sites in 4 districts in Chiang Mai and Nan provinces.

These plantings are producing promising results for rapid revegetation with Salix tetrasperma, Eugenia formosa, Dipterocarpus turbinatus, Celtis tetrandra., Holoptelea integrifolia, Anogeissus accuminata, Afzelia xylocarpa, Alstonia scholaris, Adenanthera microsperma, Bombax cebia , Oroxylum indicum and Butea monosperma.

Were rural high school science teachers to emulate this project with their communities we might see an end to the fruitless concretization of the streams of Thailand.

การฟื้นฟูป่าริมน้ำโดยเร็ว :

การพัฒนาการรวบรวมพันธุ์ไม้, การแพร่พันธ์และเทคนิคการปลูกต้นไม้ริมน้ำบริเวณลุ่มน้ำในภาคเหนือของไทย

Ricky Ward. หอพันธุ์ไม้มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ภาควิชาชีวะวิทยา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เชียงใหม่ 50200

การทดลองปลูกป่าบริเวณที่ถูกปล่อยให้ทิ้งร้างว่างเปล่าที่ซึ่งมีสูงจากระดับความน้ำทะเลต่ำ บนพื้นที่ขนาดเล็กในช่วงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2543 ถึงเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2546 เป็นผลให้ได้ข้อมูลสำหรับการพัฒนาเทคนิคการฟื้นฟูป่า ซึ่งส่วนมากใช้ได้ดีกับหมู่บ้านทางภาคเหนือของไทย
การเกษตรกรรมและชุมชนเมืองที่พัฒนาเป็นสาเหตุของการใกล้จะหมดไปของต้นไม้ริมน้ำพันธุ์ดั้งเดิมบริเวณที่ราบหุบเขาทางภาคเหนือของประเทศไทย ซึ่งส่วนใหญ่ที่เจอในหลายๆที่เป็นไม้พันธ์ต่างถิ่น และต้นไม้พันธ์ต่างถิ่นที่โดดเด่นในขณะนี้คือ จามจุรี การพัฒนาที่เกิดขึ้นเป็นสาเหตุของการเกิดการเปลี่ยนแปลงป่าจากไฟและจากการเลือกตัดไม้เปลี่ยนไป ส่งผลที่น่าเศร้าคือ การสูญเสียความหลากหลายทางชีวะวิทยาและชาวท้องถิ่นไม่เห็นคุณค่าของต้นไม้ริมน้ำ

เพื่อแก้ไขการขาดความรู้ความเข้าใจ รายงานการศึกษาพันธุ์พืชของหอพันธ์ไม้มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จากอุทยานแห่งชาติ 2 แห่ง คืออุทยานแห่งชาติในจังหวัดเชียงใหม่และเชียงราย พบว่าชุมชนของต้นไม้ริมน้ำมีน้อยและหาได้ยากมาก และจากจังหวัดน่านถึงจังหวัดแม่ฮ่องสอนผลพบว่ามีต้นไม้พันธ์ท้องถิ่นที่เหมาะสมที่จะปลูกมีเพียง 80 ชนิดจาก 37 วงศ์ ซึ่งเคยเสนอผลการทดลองปลูกแล้ว 21สายพันธุ์

ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2547 สืบเนื่องจากรัฐบาลทำลายป่าริมน้ำแพร่ขยายเป็นบริเวณกว้างตลอดตามแนวแม่น้ำปิงและบริเวณเมืองเชียงใหม่ การทดลองข้างต้นมีผลให้เกิดความหลากหลายของพันธุ์ไม้ และปลูกอยู่ในจำนวนเหมาะสม เพื่อแสดงถึงศักยภาพการฟื้นฟูอย่างรวดเร็วของต้นไม้ริมน้ำ
โครงการนี้ได้ทำโดยกลุ่มผู้เกษียณอายุ โดยใช้เรือนเพาะชำที่สร้างจากกิ่งไม้และสแลงบนพื้นที่ว่างเปล่าในเมืองเชียงใหม่ เพื่อปลูกบน 5 พื้นที่ใน 4 อำเภอของจังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดน่าน

ผลการทดลองปลูกพบว่าแนวโน้มป่าสามารถฟื้นฟูได้อย่างรวดเร็ว เมื่อปลูก ตระไคร้บก, ชมพู่ห้วย, ยางแดง, หัด, ขะจาว, แห้ว, มะค่า, ตีนเป็ด, มะโหกแดง,งิ้วแดง, ลิ้นฟ้า, และทองกวาว

ครูมัธยมซึ่งสอนวิทยาศาสตร์ในชนบทได้พยายามมีส่วนร่วมในโครงการเท่าๆกัน และเราทุกคนอยากให้โครงการคอนกรีตที่ไร้ประโยชน์บริเวณแม่น้ำในเมองไทยสิ้นสุดลง.


Here you would add details about other current project and initiatives.